บทความและวารสาร
- รัศมี ชูทรงเดช และวรฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา. (2532). คอมพิวเตอร์ : อุปกรณ์ในการวิจัยทางโบราณคดี. ศิลปากร, 33(5), 68-76.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2533). มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์กับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในช่วงโฮโลซีนตอนต้น บริเวณลุ่มแม่น้ำแควน้อยตอนล่าง จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 11(1), 55-73.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2533). ก่อนประวัติศาสตร์บริเวณลุ่มแม่น้ำแควน้อยตอนล่างในช่วงยุคหลังไพลสโตซีน. เมือง โบราณ, 16(4), 41-54.
- รัศมี ชูทรงเดช และผาสุข อินทราวุธ. (2534). ข้อมูลใหม่-ข้อคิดใหม่. เมืองโบราณ, 17(1), 128-131.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2535). ความตายในดินแดนโทราจา เกาะสุลาเวซี อินโดนีเซีย. ศิลปวัฒนธรรม, 13(3), 186-192.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2537). เสียงเพรียกจากหลุมฝังศพ : โครงกระดูกคนกับโบราณคดี. เมืองโบราณ, 20(4), 143-152.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2538). โบราณคดียุคโลกานุวัตร : ตัวอย่างจากสำนักคิดอเมริกัน. เมืองโบราณ, 21(1-4), 73-84.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2539). ปัญหาการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมแหล่งโบราณคดีศิลปะผนังถ้ำ. เมืองโบราณ, 22(1), 137-142. รัศมี ชูทรงเดช. (2542). วิทยาศาสตร์ในงานโบราณคดี ตัวอย่างจากโครงการสำรวจและจัดทำระบบฐานข้อมูลถ้ำ จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ประชาคมวิจัย, 27, 6-9.
- Shoocongdej, R. (1996). Working toward an anthropological perspective on Thai prehistory: current research on the Post-Pleistocene. Bulletin of the Indo-Pacific Prehistory Association, 14, 119-132.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2542). โลงผีในถ้ำ “เมืองสามหมอก” แม่ฮ่องสอน. ศิลปวัฒนธรรม, 20(8), 118-125.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2544). “ถ้ำ” ในฐานะของพิพิธภัณฑสถานทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ. ศิลปวัฒนธรรม, 22(7), 45-48.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2544). มุมมองทางโบราณคดีเกี่ยวกับกรณีถ้ำลิเจีย. เมืองโบราณ, 27(2), 15-20.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2544). สิ่งแวดล้อมโบราณในสมัยอยุธยา : มุมมองของอดีตที่ถูกลืม. เมืองโบราณ, 27(2), 121-125.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2544). โบราณคดีถ้ำ. ใน เอกสารการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการถ้ำเบื้องต้นในพื้นที่อนุรักษ์. กรุงเทพฯ: ฝ่ายการพิมพ์ ส่วนผลิตสื่อสำนักสารนิเทศ กรมป่าไม้.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2545). โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของกระบี่. ใน ดำรงวิชาการ : รวมบทความทาง วิชาการคณะโบราณคดีปี 2545. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2546). “สืบจากซาก” กับโครงการโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ประชาคมวิจัย, 52, 2-5.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2546). สืบจากซากตามรอยคนโบราณที่เพิงผาถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ศิลปวัฒนธรรม, 24(6), 137-145.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2546). พิพิธภัณฑ์อิรักกับความหายนะของมรดกโลก. ศิลปวัฒนธรรม, 24(8), 108-115.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2546). นักวิจัย “ผีแมน” ขอบคุณคนแม่ฮ่องสอน. ศิลปวัฒนธรรม, 24(9), 17.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2547). เครื่องมือหิน. ใน สว่าง เลิศฤทธิ์ (บรรณาธิการ), มรดกจากอดีต. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2006). แนวทางการศึกษาระดับภูมิภาคของการปลงศพสมัยยุคเหล็กในพื้นที่สูงปางมะผ้า ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับพม่า. ใน Cultural Heritage : Thais and Neighbors : Abstracts of papers presented at the International Conference in Commemoration of the sixtieth anniversary celebrations of His Majesty the King’s Accession to the Throne. Bangkok: Faculty of Archaeology, Silpakorn University.
- รัศมี ชูทรงเดช และนัทธมน ภู่รีพัฒน์พงศ์. (2550). อดีต ปัจจุบัน อนาคตของมานุษยวิทยากายภาพในประเทศ ไทย. ใน ดำรงวิชาการ : รวมบทความทางวิชาการคณะโบราณคดีปี 2550. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2550). รายงานเบื้องต้นการสำรวจแหล่งโบราณคดีในบริเวณลุ่มน้ำสาละวิน ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ใน มนตรี จันทวงศ์ และลัลธริมา หลงเจริญ (บรรณาธิการ), สาละวิน : บันทึกแม่น้ำและชีวิตในกระแสการเปลี่ยนแปลง. เชียงใหม่: มูลนิธิฟื้นฟูชีวิตและธรรมชาติ.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2552). ซาก ศาสตร์ ศิลป์. ใน สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร (บรรณาธิการ), ลบเส้นพรมแดนแห่งศิลปะ : มิตรและศิษย์มอบให้ เจตนา นาควัชระ ในวาระอายุครบ 6 รอบนักษัตร. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
- Shoocongdej, Rasmi. (2010). “Subsistence-Settlement Organization during the Late Pleistocene-Early Holocene: The Case of Lang Kamnang Cave, Western Thailand.” In 50 Years of Archaeology in Southeast Asia: Eassays in Honour of Ian Glover, edited by B. Bellina, E.A.Bacus, T.O. Pryce and J.W. Cristie. Bangkok: River Books.
- Shoocongdej, Rasmi. (2011). “Contemporary Archaeology as a Global Dialogue: Reflections from Southeast Asia.” In Comparative Archaeologies: A Sociological View of the Science of the Past, edited by Ludomir R. Lozny. Springer, 707-729.
- Shoocongdej, Rasmi. (2011). “Public Archaeology in Thailand,” in Global Public Archaeology, edited by Katsuyuki Okamura and Akira Masuda. New York: Springer, 95-111.
- Marwick, B., Shoocongdej, R., Thongcharoenchaikit, C., Chaisuwan, B., Khowkhiew, C. & Kwak, S. (2012). Hierarchies of engagement and understanding: Community engagement during archaeological excavations at Khao Toh Chong rockshelter, Krabi, Thailand. Transcending the Culture-Nature Divide in Cultural Heritage. 129-140.
- Shoocongdej, Rasmi. (2012). “The New Searchers: Building a Career in Archaeology” Rasmi Shoocongdej: University Professor, Thailand. In Archaeology: Theories, Methods, and Practice, edited by C, Renfrew and P. Bahn, pp.569-570. 6th Edition. London: Thames & Hudson.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2555). สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับงานโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์. ใน 150 ปี สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับพัฒนาการโบราณคดีไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชา โบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 96-108.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2556). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนก่อนประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมบริเวณลุ่มแม่น้ำแควน้อย-แควใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี. ใน สุภมาศ ดวงสกุล (บรรณาธิการ), รวมบทความประกอบการสัมมนาเรื่องโบราณคดีของสังคมเกษตรกรรมจากบ้านเก่าถึงหนองราชวัตร. ปราจีนบุรี: ธุรการเจริญกิจ.
- Conrad, C., Van Vlack, H. G., Marwick, B., Thongcharoenchaikit, C., Shoocongdej, R. & Chaisuwan, B. (2013). Summary of vertebrate and molluscan assemblages excavated from late-Pleistocene and Holocene deposits at Khao Toh Chong Rockshelter, Krabi, Thailand. The Thailand Natural History Museum Journal, 7 (1), 11-22.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2557). โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการความก้าวหน้าด้านโบราณคดีและการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมของชาติ. จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์: กรุงเทพฯ, 11-37.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2557). งานช่างฝีมือยุคเหล็กของวัฒนธรรมโลงไม้บนพื้นที่สูงใน อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน. ใน ดำรงวิชาการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2557). ผู้หญิงจากหลักฐานทางโบราณคดี. ใน พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ (บรรณาธิการ), พลังผู้หญิง แม่ เมีย และเทพสตรี : ความจริงและภาพแทน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
- Shoocongdej, Rasmi. (2014). Early Food Production in Southeast Asia. In Renfrew, C., & In Bahn, P. G. (2014). The Cambridge World Prehistory. New York, NY : Cambridge University Press: 457-477.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2558). ถ้ำผีแมนโลงลงรัก ข้อมูลใหม่ของโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ภาคเหนือ. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 8(2): 2572-2589.
- Chitkament, T., Gaillard, C., & Shoocongdej, R. (2016). Tham Lod rockshelter (Pang Mapha district, north-western Thailand): Evolution of the lithic assemblages during the late Pleistocene. Quaternary International, 416, 151-161.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2559). ภูมิทัศน์ทางโบราณคดีความตายในวัฒนธรรมโลงไม้บนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ใน พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ (บรรณาธิการ), ผีในหลักฐานคนตายและคนเป็น. ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2560). การจัดการข้อมูลงานวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์-มนุษยศาสตร์. ใน การจัดการข้อมูลงานวิจัยในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- รัศมี ชูทรงเดช. (2560). การใช้ทฤษฎีในงานโบราณคดีไทย. ใน รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ (บรรณาธิการ), ทฤษฎีกับการ วิจารณ์ศิลปะ : ทัศนะของนักวิชาการไทย. ปทุมธานี: นาคร.
- รัศมี ชูทรงเดช. (2561). พหุวัฒนธรรมจากมุมมองทางโบราณคดี. ใน ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และสรัสวดี อ๋องสกุล (บรรณาธิการ), สังคมพหุวัฒนธรรม. เชียงใหม่: ศูนย์ล้านนาศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.